บทที่ 1 โครงสร้างของภาษาปาสคาลเบื้องต้น
1. โครงสร้างของภาษาปาสคาลเบื้องต้น
โปรแกรมภาษาปาสคาลประกอบด้วยส่วนสำคัญต่างๆ 3 ส่วนคือ
1.1 ส่วนหัวโปรแกรม(Head Part)
1.2 ส่วนประกาศ(Declarations Part)
1.3 ส่วนเขียนคำสั่ง(Statements Part)
ภาพตัวอย่าง
อธิบายโครงสร้างส่วนต่างๆ 3ส่วน ดังนี้.
ส่วนที่1 ส่วนโปรแกรม(Head Part)
ส่วนหัวโปรแกรม จะต้องมีคำว่าProgram และชื่อของProgram (ตั้งตามกฏการตั้งชื่อ จะอธิบายในบทต่อไปนะครับ)
ตัวอย่างการตั้งชื่อ เช่น Program It4x; เป็นต้น
ส่วนที่2 ส่วนประกาศ(Declarations Part)
ตัวอย่าง Code โปรแกรมที่2.1
จากตัวอย่าง Code โปรแกรมที่2.1 ส่วนประกาศนั้น ไม่จำเป็นต้องประกาศ เนื่องจาก
วัตถุประสงค์ของโปรแกรมนี้ต้องการแสดงเพียงแค่ข้อความ My Name is it4x เท่านั้น
เรายังไม่ได้ใช้งาน ชนิดข้อมูลตัวแปร ตัวแปรแบบมีค่าคงที่ หรือยังไม่ได้ใช้งานโปรแกรมย่อยใดๆ จึงข้ามส่วนนี้ไป
Uses Library _Name; เป็นการเรียกใช้งาน Library จากภาษาปาสคาลที่มีมาให้อยู่แล้ว
(อาจจะมีการใช้งานส่วนนี้ หรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่กับข้อกำหนดของเครื่องมือที่ใช้เขียนนั้นๆ)
แต่เครื่องมือที่เราใช้เขียนเป็นหลักในภาษานี้คือ Turbo Pascal 7.0 สามารถเรียกใช้คำสั่งนี้ก็ได้หรือไม่ใช้ก็ได้
แต่ที่ผมจะนำมาใช้ คือ Uses crt;
ตัวอย่าง Code
ส่วนที่3 ส่วนเขียนคำสั่ง(Statements Part)
ส่วนเขียนคำสั่ง เป็นส่วนหลักของโปรแกรม และเป็นส่วนที่กระกอบด้วยชุดคำสั่ง
ที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องการ
จากรูปภาพตัวอย่างด้านบน Statement_Fist; คือ ประโยคคำสั่งที่1 และ Stastment_Last; คือ ประโยคคำสั่งสุดท้าย
โดยชุดคำสั่งจะต้องอยู่ระหว่างคำว่า Begin และ End.
ตัวอย่าง Code คำสั่ง
จาก Code ตัวอย่างข้างบนนี้มีประโยคคำสั่งแค่บรรทัดเดียว
Credit : บทความนี้ได้คัดลอกมาจากเว็ป citec.us และถูกดัดแปลงแก้ไขข้อความบางส่วนเพื่อให้เข้ากับโปรแกรมของเรา
Site : www.it4x.com
เอาไปลงต่อที่ไหน กรุณาให้ Credit ด้วยนะคร๊าบ www.it4x.com
1. โครงสร้างของภาษาปาสคาลเบื้องต้น
โปรแกรมภาษาปาสคาลประกอบด้วยส่วนสำคัญต่างๆ 3 ส่วนคือ
1.1 ส่วนหัวโปรแกรม(Head Part)
1.2 ส่วนประกาศ(Declarations Part)
1.3 ส่วนเขียนคำสั่ง(Statements Part)
ภาพตัวอย่าง
อธิบายโครงสร้างส่วนต่างๆ 3ส่วน ดังนี้.
ส่วนที่1 ส่วนโปรแกรม(Head Part)
ส่วนหัวโปรแกรม จะต้องมีคำว่าProgram และชื่อของProgram (ตั้งตามกฏการตั้งชื่อ จะอธิบายในบทต่อไปนะครับ)
ตัวอย่างการตั้งชื่อ เช่น Program It4x; เป็นต้น
ส่วนที่2 ส่วนประกาศ(Declarations Part)
ตัวอย่าง Code โปรแกรมที่2.1
โค๊ด: [Select]
Program It4x;
Begin
Write('My Name is It4x');
End.
จากตัวอย่าง Code โปรแกรมที่2.1 ส่วนประกาศนั้น ไม่จำเป็นต้องประกาศ เนื่องจาก
วัตถุประสงค์ของโปรแกรมนี้ต้องการแสดงเพียงแค่ข้อความ My Name is it4x เท่านั้น
เรายังไม่ได้ใช้งาน ชนิดข้อมูลตัวแปร ตัวแปรแบบมีค่าคงที่ หรือยังไม่ได้ใช้งานโปรแกรมย่อยใดๆ จึงข้ามส่วนนี้ไป
Uses Library _Name; เป็นการเรียกใช้งาน Library จากภาษาปาสคาลที่มีมาให้อยู่แล้ว
(อาจจะมีการใช้งานส่วนนี้ หรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่กับข้อกำหนดของเครื่องมือที่ใช้เขียนนั้นๆ)
แต่เครื่องมือที่เราใช้เขียนเป็นหลักในภาษานี้คือ Turbo Pascal 7.0 สามารถเรียกใช้คำสั่งนี้ก็ได้หรือไม่ใช้ก็ได้
แต่ที่ผมจะนำมาใช้ คือ Uses crt;
ตัวอย่าง Code
โค๊ด: [Select]
Program it4x;
Uses crt;
Begin
Write('My Name is it4x');
End.
ส่วนที่3 ส่วนเขียนคำสั่ง(Statements Part)
ส่วนเขียนคำสั่ง เป็นส่วนหลักของโปรแกรม และเป็นส่วนที่กระกอบด้วยชุดคำสั่ง
ที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องการ
จากรูปภาพตัวอย่างด้านบน Statement_Fist; คือ ประโยคคำสั่งที่1 และ Stastment_Last; คือ ประโยคคำสั่งสุดท้าย
โดยชุดคำสั่งจะต้องอยู่ระหว่างคำว่า Begin และ End.
ตัวอย่าง Code คำสั่ง
โค๊ด: [Select]
Begin
Write('My Name is it4x');
End.
จาก Code ตัวอย่างข้างบนนี้มีประโยคคำสั่งแค่บรรทัดเดียว
Credit : บทความนี้ได้คัดลอกมาจากเว็ป citec.us และถูกดัดแปลงแก้ไขข้อความบางส่วนเพื่อให้เข้ากับโปรแกรมของเรา
Site : www.it4x.com
เอาไปลงต่อที่ไหน กรุณาให้ Credit ด้วยนะคร๊าบ www.it4x.com