บทที่ 2 กฏการตั้งชื่อ (Declaration Rule)
1. กฏการตั้งชื่อ(Declaration Rule)
1.1 ตัวแรกต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ A-Z,a-z หรือ _(Underscore) ตามด้วยตัวอักษรหรือตัวเลข 0-9(อักขระ _ สามารถตั้งขึ้นต้นตัวแรกหรือร่วมอยู่ด้วยได้)
1.2 ห้ามเว้นช่องว่าง และห้ามใช้สัญลักษณ์พิเศษนอกเหนือจาก _(Underscore) เท่านั้น
1.3 จะตั้องไม่ซ้ำกับคำสงวน (Reserved Word) รายละเอียดคำสงวนจะอยู่ในหัวข้อที่3
1.4 ตั้งชื่อเป็นตัวเล็กหรือตัวใหญ่ก็ได้ มีความหมายเหมือนกัน
1.5 การตั้งขื่อสามารถใช้ตัวอักษรและตัวเลขผสมกันได้(แต่ห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข) ยกตัวอย่างเช่น Example2,Array2D,Lab8 เป็นต้น
1.6 ความยาวของการตั้งชื่อทั้งหมดอ้างอิงและทดสอบกับโปรแกรม Turbo Pascal for windows ตั้งชื่อโปรแกรมต้องมีความยาวไม่เกิน 118 ตัว
ป.ล. ควรตั้งชื่อให้สอดคล้องกับโปรแกรมที่เราเขียน ประโยชน์ที่ต้องทำอย่างนี้ เพราะเผื่อใครเปิดโปรแกรมขึ้นมาดู เมื่อเห็นชื่อโปรแกรมก็จะสื่อถึงตัวโปรแกรมได้อัตโนมัติ
ตัวอย่างการตั้งชื่อที่ถูกต้อง เช่น
Program Average;
Program AVERAGE;
Program Grade;
Program LEB8;
Program SUM_Nagative;
Program _SUM;
Program Math_2;
Program Test_Var;
Program Int;
Program Loop2;
Program If2;
ตัวอย่างการตั้งชื่อที่ผิด เช่น
Program 9SUM;
Program SUM@A;
Program 2Test1;
Program Array;
Program Program;
Program Begin;
Program LEB.First;
Program Exam Two;
Program For;
Program _Data-2;
2. การตั้งชื่อส่วนอื่นๆ
หลักการตั้งชื่อส่วนอื่นๆในโปรแกรมนั้น มีข้อบังคับเช่นเดียวกันกับการตั้งชื่อในหัวข้อที่1 ทุกประการ ยกเว้นความยาวในการตั้งชื่อดังนี้
2.1 การตั้งชื่อตัวแปร
หลักการตั้งชื่อตัวแปรนั้น มีข้อบังคับเช่นเดียวกันกับการตั้งชื่อในหัวข้อที่1 ทุกประการ ยกเว้นความยาวในการตั้งชื่อ
การตั้งชื่อตัวแปร(Variable) ต้องมีความยาวไม่เกิน 113ตัว
ตัวอย่าง Code โปรแกรมการตั้งชื่อตัวแปร
2.2 การตั้งชื่อชนิดข้อมูล
หลักการตั้งชื่อส่วนอื่นๆในโปรแกรมนั้น มีข้อบังคับเช่นเดียวกันกับการตั้งชื่อในหัวข้อที่1 ทุกประการ ยกเว้นความยาวในการตั้งชื่อดังนี้
2.2.1 การตั้งชื่อชนิดข้อมูล Array
การตั้งชื่อชนิดข้อมูล Array ต้องมีความยาวไม่เกิน 98 ตัว
2.2.2 การตั้งชื่อชนิดข้อมูล Recoed
การตั้งชื่อชนิดข้อมูล Recoed ต้องมีความยาวไม่เกิน 115 ตัว
2.3 การตั้งชื่อโปรแกรมย่อย(Procedure และ Function)
หลักการตั้งชื่อส่วนอื่นๆในโปรแกรมนั้น มีข้อบังคับเช่นเดียวกันกับการตั้งชื่อในหัวข้อที่1 ทุกประการ ยกเว้นความยาวในการตั้งชื่อดังนี้
(รายละเอียดในหัวข้อนี้จะยังไม่กล่าวถึงนะครับ)
2.3.1 การตั้งชื่อโปรแกรมย่อย แบบProcedure
การตั้งชื่อโปรแกรมย่อย แบบProcedure ต้องมีความยาวไม่เกิน 101ตัว
2.3.2 การตั้งชื่อโปรแกรมย่อย แบบFunction
การตั้งชื่อโปรแกรมย่อย แบบProcedure ต้องมีความยาวไม่เกิน 93ตัว
3. คำสงวน(Reserved Word)
คำสงวน คือ คำที่มีการจองหรือสงวนเอาไว้เพื่อใช้งานเฉพาะ ในภาษาโปรแกรมแต่ละภาษานั้น
จะมีการจองไว้ใช้งานเฉพาะที่ต่างกันไป ซึ่งในภาษาปาสคาลมีคำสงวงไว้ดังต่อไปนี้ คือ
ป.ล. ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ก็เป็นแค่ทฤษฎีเบื้องต้นที่ต้องรู้นะครับเด๋วเราจะมาเริ่มลงมือปฏิบัติในบทต่อไปกันเลยดีกว่านะครับ
เอาไปลงต่อที่ไหน กรุณาให้ Credit ด้วยนะคร๊าบ www.it4x.com
Credit : บทความนี้ได้นำมาจาก http://citec.us/ ซึ่งเนื้อหาบางส่วนอาจจะถูกแก้ไขเพื่อให้เข้ากับ โปรแกรม ของเรา
1. กฏการตั้งชื่อ(Declaration Rule)
1.1 ตัวแรกต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษ A-Z,a-z หรือ _(Underscore) ตามด้วยตัวอักษรหรือตัวเลข 0-9(อักขระ _ สามารถตั้งขึ้นต้นตัวแรกหรือร่วมอยู่ด้วยได้)
1.2 ห้ามเว้นช่องว่าง และห้ามใช้สัญลักษณ์พิเศษนอกเหนือจาก _(Underscore) เท่านั้น
1.3 จะตั้องไม่ซ้ำกับคำสงวน (Reserved Word) รายละเอียดคำสงวนจะอยู่ในหัวข้อที่3
1.4 ตั้งชื่อเป็นตัวเล็กหรือตัวใหญ่ก็ได้ มีความหมายเหมือนกัน
1.5 การตั้งขื่อสามารถใช้ตัวอักษรและตัวเลขผสมกันได้(แต่ห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข) ยกตัวอย่างเช่น Example2,Array2D,Lab8 เป็นต้น
1.6 ความยาวของการตั้งชื่อทั้งหมดอ้างอิงและทดสอบกับโปรแกรม Turbo Pascal for windows ตั้งชื่อโปรแกรมต้องมีความยาวไม่เกิน 118 ตัว
ป.ล. ควรตั้งชื่อให้สอดคล้องกับโปรแกรมที่เราเขียน ประโยชน์ที่ต้องทำอย่างนี้ เพราะเผื่อใครเปิดโปรแกรมขึ้นมาดู เมื่อเห็นชื่อโปรแกรมก็จะสื่อถึงตัวโปรแกรมได้อัตโนมัติ
ตัวอย่างการตั้งชื่อที่ถูกต้อง เช่น
Program Average;
Program AVERAGE;
Program Grade;
Program LEB8;
Program SUM_Nagative;
Program _SUM;
Program Math_2;
Program Test_Var;
Program Int;
Program Loop2;
Program If2;
ตัวอย่างการตั้งชื่อที่ผิด เช่น
Program 9SUM;
Program SUM@A;
Program 2Test1;
Program Array;
Program Program;
Program Begin;
Program LEB.First;
Program Exam Two;
Program For;
Program _Data-2;
2. การตั้งชื่อส่วนอื่นๆ
หลักการตั้งชื่อส่วนอื่นๆในโปรแกรมนั้น มีข้อบังคับเช่นเดียวกันกับการตั้งชื่อในหัวข้อที่1 ทุกประการ ยกเว้นความยาวในการตั้งชื่อดังนี้
2.1 การตั้งชื่อตัวแปร
หลักการตั้งชื่อตัวแปรนั้น มีข้อบังคับเช่นเดียวกันกับการตั้งชื่อในหัวข้อที่1 ทุกประการ ยกเว้นความยาวในการตั้งชื่อ
การตั้งชื่อตัวแปร(Variable) ต้องมีความยาวไม่เกิน 113ตัว
ตัวอย่าง Code โปรแกรมการตั้งชื่อตัวแปร
โค๊ด: [Select]
Program Navigator;
Uses Wincrt;
Var Data1:integer;
Begin
Write('My Name is Navigator');
End.
อธิบายตัวอย่าง Code โปรแกรมด้านบนสังเกตบรรทัดนี้ Var Data1:integer; ชื่อตัวแปร คือ Data12.2 การตั้งชื่อชนิดข้อมูล
หลักการตั้งชื่อส่วนอื่นๆในโปรแกรมนั้น มีข้อบังคับเช่นเดียวกันกับการตั้งชื่อในหัวข้อที่1 ทุกประการ ยกเว้นความยาวในการตั้งชื่อดังนี้
2.2.1 การตั้งชื่อชนิดข้อมูล Array
การตั้งชื่อชนิดข้อมูล Array ต้องมีความยาวไม่เกิน 98 ตัว
2.2.2 การตั้งชื่อชนิดข้อมูล Recoed
การตั้งชื่อชนิดข้อมูล Recoed ต้องมีความยาวไม่เกิน 115 ตัว
2.3 การตั้งชื่อโปรแกรมย่อย(Procedure และ Function)
หลักการตั้งชื่อส่วนอื่นๆในโปรแกรมนั้น มีข้อบังคับเช่นเดียวกันกับการตั้งชื่อในหัวข้อที่1 ทุกประการ ยกเว้นความยาวในการตั้งชื่อดังนี้
(รายละเอียดในหัวข้อนี้จะยังไม่กล่าวถึงนะครับ)
2.3.1 การตั้งชื่อโปรแกรมย่อย แบบProcedure
การตั้งชื่อโปรแกรมย่อย แบบProcedure ต้องมีความยาวไม่เกิน 101ตัว
2.3.2 การตั้งชื่อโปรแกรมย่อย แบบFunction
การตั้งชื่อโปรแกรมย่อย แบบProcedure ต้องมีความยาวไม่เกิน 93ตัว
3. คำสงวน(Reserved Word)
คำสงวน คือ คำที่มีการจองหรือสงวนเอาไว้เพื่อใช้งานเฉพาะ ในภาษาโปรแกรมแต่ละภาษานั้น
จะมีการจองไว้ใช้งานเฉพาะที่ต่างกันไป ซึ่งในภาษาปาสคาลมีคำสงวงไว้ดังต่อไปนี้ คือ
โค๊ด: [Select]
and downto in or then
asm else inline packed to
array end interface procedure type
begin exports label program unit
case file library record until
const for mod repeat uses
constructor function nil set var
destructor goto not shl while
div if object shr with
do implementation of string xor
ป.ล. ทั้งหมดที่กล่าวมานี้ก็เป็นแค่ทฤษฎีเบื้องต้นที่ต้องรู้นะครับเด๋วเราจะมาเริ่มลงมือปฏิบัติในบทต่อไปกันเลยดีกว่านะครับ
เอาไปลงต่อที่ไหน กรุณาให้ Credit ด้วยนะคร๊าบ www.it4x.com
Credit : บทความนี้ได้นำมาจาก http://citec.us/ ซึ่งเนื้อหาบางส่วนอาจจะถูกแก้ไขเพื่อให้เข้ากับ โปรแกรม ของเรา